Diary Note 3
29th January,2016
Knowledge
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา
เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า “เด็กปัญญาเลิศ”
เด็กปัญญาเลิศ (Gifted Child)
- เด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญา
- มีความถนัดเฉพาะทางสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
ข้อแตกต่างระหว่างเด็กฉลาด กับ Gifted
ตัวอย่างเด็กGifted ที่มีชื่อเสียง
Kim Ung-yong (born March 7, 1963) is a South Korean civil engineer and former child prodigy. Kim was listed in the Guinness
Book of World Records under "Highest IQ"; the book gave the boy's score as about 210. Guinness retired the
"Highest IQ" category in 1990 after concluding IQ tests were too
unreliable to designate a single record holder.
เด็กให้คำปรึกษาปัญหาชีวิตสุดยอดเด็กอัฉริยะที่มีสติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ ( Interpersonal Intelligence
)?อายุ 7 ขวบ (เมื่อปี 2009)
สถานีวิทยุท้องถิ่น Mercia FM ใน เมืองโคเวนทรี
ประเทศอังกฤษ ได้เสนองานเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาปัญหาชีวิต กับน้อง?Elaina Smith?ในรายการวิทยุ?เมื่อมีสายโหญิงสาวคนหนึ่งที่โทรเข้ามาปรึกษา
เรื่องที่เธอถูกแฟนทิ้ง คำแนะนำง่าย ๆ ของ Elaina Smith?คือ
บอกให้หญิงสาวผู้นั้นออกไปโยนโบว์ลิ่งกับเพื่อนและก็ดื่มนมสักแก้วนึงโต ๆ?และนั่นทำให้เธอได้เวลา จัดรายการแก้ปัญหาชีวิตรายสัปดาห์ จากสถานีจนได้รับความนิยมจากผู้ฟังนับพัน
เด็กชายธนัช เปลวเทียนยิ่งทวี
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1. เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
(Children with Intellectual
Disabilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน
มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
- สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
- เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนช้า
เด็กปัญญาอ่อน
-
ระดับสติปัญญาต่ำ
- พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
- อาการแสดงก่อนอายุ 18
พฤติกรรมการปรับตน
การสื่อความหมาย
การดูแลตนเอง
การดำรงชีวิตภายในบ้าน
การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม
การใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน
การควบคุมตนเอง
การนำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
การใช้เวลาว่าง
การทำงาน
การมีสุขอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น
เด็กปัญญาอ่อน
แบ่งตามระดับสติปัญญา
(IQ)
ได้ 4 กลุ่ม
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
•ไม่พูด หรือพูดได้ไม่สมวัย
•ช่วงความสนใจสั้น วอกแวก
• ความคิด และอารมณ์
เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
•ทำงานช้า
•รุนแรง ไม่มีเหตุผล
•อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ
กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
•ช่วยตนเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
ดาวน์ซินโดรม
Down Syndrome
สาเหตุ
- ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่
21
- ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่
21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy 21)
อาการ
- ศีรษะเล็กและแบน คอสั้น
-หน้าแบน ดั้งจมูกแบน
-ตาเฉียงขึ้น ปากเล็ก
-ใบหูเล็กและอยู่ต่ำ
รูหูส่วนนอกจะตีบกว่าปกติ
- เพดานปากโค้งนูน
ขากรรไกรบนไม่เจริญเติบโต
-ช่องปากแคบ ลิ้นยื่น
ฟันขึ้นช้าและไม่เป็นระเบียบ
- มือแบนกว้าง นิ้วมือสั้น
-เส้นลายมือตัดขวาง
นิ้วก้อยโค้งงอ
-ช่องระหว่างนิ้วเท้าที่ 1
และ 2 กว้าง
-มีความผิดปกติในระบบต่างๆ
ของร่างกาย
-บกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง
-อารมณ์ดีเลี้ยงง่าย ร่าเริง
เป็นมิตร
- อวัยวะเพศมักเจริญเติบโตไม่เต็มที่ทั้งในชายและหญิง
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดกลุ่มอาการดาวน์
-การเจาะเลือดของมารดาในระหว่างที่ตั้งครรภ์
-อัลตราซาวด์
-การตัดชิ้นเนื้อรก
-การเจาะน้ำคร่ำ
2.เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
(Children with Hearing Impaired )
(Children with Hearing Impaired )
หมายถึง
เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง
ๆ ได้ไม่ชัดเจนมี 2 ประเภท คือ
เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
เด็กหูตึง
หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน
แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
เด็กหูหนวก
- เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
- เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
- ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
- ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB
ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
-ไม่ตอบสนองเสียงพูด
เสียงดนตรี มักตะแคงหูฟัง
-ไม่พูด มักแสดงท่าทาง
-พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์
-พูดด้วยเสียงแปลก
มักเปล่งเสียงสูง
-พูดด้วยเสียงต่ำหรือด้วยเสียงที่ดังเกินความจำเป็น
-เวลาฟังมักจะมองปากของผู้พูด
หรือจ้องหน้าผู้พูด
-รู้สึกไวต่อการสั่นสะเทือน
และการเคลื่อนไหวรอบตัว
-มักทำหน้าที่เด๋อเมื่อมีการพูดด้วย
3. เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
(Children with Visual
Impairments)
- เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง
เห็นเลือนราง
- มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
- มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ
เด็กตาบอดไม่สนิท
Snellen’s Chart
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการเห็น
-เดินงุ่มง่าม
ชนและสะดุดวัตถุ
-มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
-มักบ่นว่าปวดศีรษะ คลื่นไส้
ตาลาย คันตา
-ก้มศีรษะชิดกับงาน
หรือของเล่นที่วางอยู่ตรงหน้า
-เพ่งตา หรี่ตา หรือปิดตาข้างหนึ่ง
เมื่อใช้สายตา
-ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
-มีความลำบากในการจำ
และแยกแยะสิ่งที่เป็นรูปร่างทางเรขาคณิต
Apply
เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรคำนึงถึงความต้องการของเด็ก พัฒนาการ และ วุฒิภาวะเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
Teaching Method
บรรยาย อธิบาย เกี่ยวกับความบกพร่องของเด็ก พร้อมทั้งสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน ใช้โปรแกรมMicrosoft PowerPoint ในการสอน
Assessment
Place : บรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมต่อการเรียนรู้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไม่พร้อมใช้งาน
My self : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย
Classmate : ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
Instructor : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา